น่ารัก

Nok-Weed : )

วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 16


ครั้งที่16
16 สิงหาคม 2554

วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ และให้ดู vdo เรื่องมหัศจรรย์ของแสง และจดบันทึก

การเดินทางของแสง
ในแต่ละวัน ถ้าเราสังเกตรอบตัวเราจะเห็นการเดินทางของแสง เช่น แสงแดดที่ส่องผ่านฝาผนังบ้านไม้ที่มีรอยแตก หรือเป็นรู ลำแสงของไฟฉาย แสงจากเครื่องฉายภาพยนตร์ที่พุ่งไปยังจอ หรือลำแสงที่ส่องลอดพุ่มไม้ลงมายังพื้นดิน เป็นต้น เราจะเห็นว่า ลำแสงเหล่านั้นจะพุ่งไปเป็น เส้นตรง แต่ในบางสถานที่อาจสังเกตยาก หากฉากหลังที่อยู่ระหว่างลำแสงกับสายตามีความสว่าง ถ้าจะ
สังเกตไห้ชัดเจน ควรทดลอง หรือสังเกตในที่มืด

การหักแหของแสง
การหักเหของแสง (Refraction) เกิดจากการที่แสงเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นต่างกัน เป็นผลทำให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไปด้วย ซึ่งในขณะที่แสงเกิดการหักเหก็จะเกิดการสะท้อนของแสงขึ้นพร้อมๆ กันด้วย

วัตถุที่โปร่งแสง
วัตถุที่แสงนั้นผ่านไม่เป็นระเบียบทำให้เรามองเห็นอีกด้านหนึ่งได้ไม่ชัดเจน

วัตถุที่ทึบแสง
วัตถุที่แสงสามารถผ่านวัถตุได้

วัตถุที่ดปร่งใส
วัตถุที่แสงผ่านได้อย่างเป็นระเบียบ

***เนื่องจากมีการบันทึกข้ามวันไปและจะบันทึกวันที่ 16 สิงหาคมไม่สามารถแทรกได้ตามลำดับ จึงขอเอาวันที่ 16สิงหาคม มาไว้อันสุดท้าย ขออภัยที่เนื่อหา และ วันอาจจะไม่เลียงให้เป็นไปตามกำหนดไว้***

คร้ั้ังที่ี่ 15


ครั้งที่ 15
4 ตุลาคม 2554


วันนี้ไม่มีเรียนค่ะ :) แต่มีสอบปลายภาคค่ะ ^^


คร้ั้ังที่ 14


ครั้งที่ 14
27 กันยายน 2554

วันนี้อาจารย์ทบทวนเนื้อหารที่เรียนมาเพื่อเตรียมตัวสอบ วันนี้เป็นวันเลยวันสุดท้ายของคอส



วิธีการสังเกต
1. การสังเกต => แบบประเมินการสังเกต จากการที่เห็น
2.การสนทนาซักถาม => แบบสอบถามหรือแบบบันทึก
3.ผลงาน => ชิ้นงานของเด็ก / แฟ้มสะสมผลงาน
****เป็นเครื่องมือที่นำไปเปรียบเทียบกับพัฒนาการเด็ก****

คร้ั้ังที่ี่ี่ 13


ครั้งที่13
20 กันยายน 2554

อาจารย์พูดเรื่อง การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของเพื่อนๆแต่ละกลุ่มว่าควรปรับปรุ่งอย่างไรบ้างเพื่อถูกต้องตามแบบฉบับจริงของอาจารย์

คร้ังที่ 12


ครั้งที่ 12
13 กันยายน 2554

วันนี้อาจารย์สอนเขียนแผนการจัดประสบกาณ์ทางวิทยาศาสตร์ จะต้องมี
1.สาระการเรียนรู้
- สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
- เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
- ธรรมชาติ
- บุคคลและสถานที่ต่างๆ

2.ประสบการณ์สำคัญ
- ด้านร่างกาย
- ด้านอารมณ์
- ด้านสังคม
- ด้านสติปัญญา
- ด้านภาษา
- ด้านวิทยาศาสตร์
3.ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
- การจำแนก
- การสังเกต
- การสื่อความหมาย
- การแสดงความคิดเห็น
- การวัด
- การคำนวณ
- การแสดงความคิดเห็น
- การสเปสกับเวลา

**หลังจากอาจารย์สอนเสร็จ ได้มอบหมายงาน โดยการให้เขียนแผนการสอนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน**

วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้้ งที่ 11


ครั้งที่ 11
6 กันยายน 2554


วันนี้อาจารย์ได้พูดเกี่ยวกับแกนทิชชู เพราะแกนกระดาษทิชชู ถือว่าเป็น วิทยาศาสตร์ เพราะว่า
แกนกระดาษทิชชู อยู่รอบตัวเด็ก ผลิดตจากธรรมชาติ และ สามารถเปลี่ยนแปลงได้
วันนี้อาจารย์ให้ดู VDO เรื่อง มหัศจรรย์ ของน้ำ
ลกของเราประกอบขึ้นด้วยพื้นดินและพื้นน้ำ โดยส่วนที่เป็นฝืนน้ำนั้น มีอยู่ประมาณ 3 ส่วน (75%) และเป็นพื้นดิน 1 ส่วน (25%) น้ำมีความสำคัญอย่างยิ่งกับชีวิตของพืชและสัตว์บนโลกรวมทั้งมนุษย์เราด้วยน้ำเป็นทรัพยากรที่สามารถเกิดหมุนเวียนได้เรื่อย ๆ ไม่มีวันหมดสิ้น เมื่อแสงแดดส่องมาบนพื้นโลก น้ำจากทะเลและมหาสมุทรก็จะระเหยเป็นไอน้ำลอยขึ้นสู่เบื้องบนเนื่องจากไอน้ำมีความเบากว่าอากาศ เมื่อไอน้ำลอยสู่เบื้องบนแล้ว จะได้รับความเย็นและกลั่นตัวกลายเป็นละอองน้ำเล็ก ๆ ลอยจับตัวกันเป็นกลุ่มเฆม เมื่อจับตัวกันมากขึ้นและกระทบความเย็นก็จะกลั่นตัวกลายเป็นหยดน้ำตกลงสู่พื้นโลก น้ำบนพื้นโลกจะระเหยกลายเป็นไอน้ำอีกเมื่อได้รับความร้อนจากดวงทิตย์ ไอน้ำจะรวมตัวกันเป็นเมฆและกลั่นตัวเป็นหยดน้ำกระบวนการเช่นนี้ เกิดขึ้นเป็นวัฏจักรหมุนเวียนต่อเนื่องกันตลอดเวลา เรียกว่า วัฏจักรน้ำทำให้มีน้ำเกิดขึ้นบนผิวโลกอยู่สม่ำเสมอ
-มีการสาธิตการลอยตัวของเข็ม
-มีการสาธิตการลอยตัวของวัตถุในน้ำซึ่งจะมีความแตกต่างระหว่าง น้ำเกลือ กับ น้ำเปล่่า
-มีการทดลอง ของแข็งจะกลายเป็นของเหลว


ครั้งที่ 10


ครั้งที่ 10

30 สิงหาคม 2554

อาจารย์สรุปงาน สิ่งประดิษฐ์จากแกนกระดาษ
ทิชชู


วันนี้อาจารย์สอนการจัดทำโครงการ แบบ Project Approach

อาจาย์มอบหมายงาน
กลุ่มละ 4 คน ให้ทำโครงการ กลุ่มละ 1 หน่อวย กลุ่มฉันทำโครงการเรื่อง เห็ด

ครั้ั้้งที่9


ครั้งที่9
23 สิงหาคม 2554



วัสดุ- ภาชนะ เหลือใช้
วัสดุ
แกนทิชชู
ฝาน้ำ
หลอด
ปากกา
กระดาษ
ภาชนะ
กล่องนม
กล่องยาสีฟัน
กระป๋อง
ลัง
แก้วน้ำ
******วันนี้อาจารย์ให้ทำของเล่นจากแกนกระดาษทิชชู
เพื่อนำไปเสนอวันสัปดาหวิทยาศาสตร์*****


วันนี้เรียนเรื่องการจัดกิจกรรม
ต่อด้วยการเรียนเครื่อง การสอนแบบโครงการ หรือ Project Approach
โดยอาจารย์สมมุติให้นักศึกษาเป็นเด็กอนุบาล และให้ช่วยกันนำเสนอว่าอยากเรียนเรื่องอะไร
เพื่อนๆได้ช่วยกันเสนอคือ ปลา ช้าง กล้วย สุนัข ดอกไม้ แล้วมาทำการโหวตว่าเราจะเรียนเรื่องอะไร โดยให้นักเรียนยกมือเพื่อทำการนับผลโหวต เช่น
ปลา //// 4
ช้าง / 1
กล้วย ///// 5
สุนัข ///// 5
ดอกไม้ ///// ////// ///// 15
โดย ใช้รอยขีด แล้ว ช่วยกันนับรวมกัน ได้ผลสรุปว่า เราจะเรียนเรื่องดอกไม้ กัน

Project Approach มี 3 ระยะ คือ

ระยะที่1
ระยะที่ 2 การหาคำตอบของกิจกรรม
สถานที่ => สวนดอกไม้
ร้านขายดอกไม้
ห้องสมุด
ขายของฝาก
การจัดทำกิจกรรม
เคลื่อนไหวและจังหวะ => แต่งเพลง
เคลื่อนไหว
การเสริมประสบการณ์ => เชิญคนมาสอน
พาไปดู
กิจกรรมศิลปะ => วาดสวนประกอบของดอกไม้
ประดิษฐ์
พิมพ์ภาพ
ประกอบอาหาร
เล่นเสรี
ระยะที่ 3 สรุปการนำเสนอ
1.นิทรรศการ
2.เพลง
3.นิทาน
4.แผนที่
5.งานประดิษฐ์
6.ส่วนประกอบ
7.อาหารที่เราทำ
8.เกม
การเชิญชวน -ทำป้ายติด
-ทำการ์ดเชิญ

****กิจกรรมทั้งหมด เด็กเป็นผู้ลงมือกระทำและนำเสนอ ครูมีหน้าที่จัดเตรียมชี้แนะเท่านั้น****




ครั้งที่8


ครั้งที่ 8
9 สิงหาคม 2554


วันนี้ไม่มีการเรียน เนื่องจากช่วยในช่วงการสอบ "กลางภาค" คะ






ครั้งที่ 7


ครั้งที่ 7
2 สิงหาคม 2554
วันนี้อาจารย์ให้ส่งงานคือ
1.ตารางคะแนนที่อาจารย์สั่ง 4 แผ่น
2.ส่งโครงการที่อาจารย์มอบหมาย
3.อาจารย์ให้นำเสนอของเล่นที่ทำจากเศษวัสดุเหลือใช้ ฉันทำ "ตุ็กจัลคู่เสียง"

อุปกรณ์
กระป๋องโค้ก 2 ใบ
กล่องพลาสติก 2 ใบ
โฟมกลม 2 ลูก
ตาตู๊กตา 2 คู่
กระดาษสี 1 แผ่น
เศษผ้า
ไหมพรม
ลูกปัด
อาหารปลา
กาว
เทปใส
วิธีทำ
1.ล้างกระป๋องโค้กทั้ง 2 ใบให้สะอาด แล้ว คว่ำไว้ให้แห้ง
2.เอาลูกปัดใส่ในกระป๋องโค้ก และ อาหารปลาใส่ในกระป๋อง แล้วเอาเทปใส่ปิดปากกระป๋อง
3.เอาเศษผ้ามาตัดเพื่อทำเป็นชุดของตุ๊กตา แล้วนำไปแปะที่กระป๋องโค้ก เพื่อเพิ่มความสวยงาม
4.เอากระดาษมาพันโฟม เพื่อทำเป็นหน้าของตุ๊กตา และติดตา เต็มปากให้สวยงาม
5.นำไหมพรม มาทักเป็นเปีย เพื่อทำเป็นส่วนผม
6.เอาทุกอย่างมาประกอบรวมกัน เมื่อประกอบเสร็จแล้วจะได้ตั
วตุ๊กกาจับคู่ ทำแบบนี้ทั้ง 2 ตัว

วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 6

ครั้งที่ 6
26 กรกฎาคม 2554
ลักษณะของเด็กปฐมวัย




ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ไขปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดในรูแแบบกิจกรรมให้กับเด็ก

ทักษะการสังเกต => การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือ หลายอย่างรวมกัน ได้แก่
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 โดยให้สัมผัสกับวัตถุ หรือเหตุการณ์ โดยมัจุดประสงค์
และเป้าหมาย
ทักษะการจำแนกประเภท => การแยกแยะ การจำแนก ต้องมีเกณฑ์ในการจำแนก แล้วนำมาเปรียบ
เทียบ ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของ เช่น ความเหมือน
ความสัมพันธ์ร่วม ความแตกต่าง
ทักษะการวัด => การหารปริมาณโดยมรเครื่องมือเป็นตัวบ่งชี้ หรือ ใช้เครื่องมือต่างๆวัดเพื่อหาค่า
ปริมาณของสิ่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยวัดกำกับ
1. รู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
2. การเลือกเครื่องมือที่จะนำมาใช้
3. วิธีการที่เราจะวัด
ทักษะการสื่อสารู้ร = > การพูด การเขียน รูปภาพ และ ภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า ความสามารถรับรู้ข้อมูลได้ถูกต้องชัดเจน
1.บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
2.บันทึกการเปลี่ยนแปลง
3.บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จากกระทำ
4.จัดทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
ลงความคิดเห็นจากข้อมูล => การเพิ่มความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผลโดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับเวลา => การเรียนรู้ 1 2 3 มิติ เข้าใจภาพที่บนกระจกเป็นทิศทางตรงกันข้าม (มุมมอง)
การหาความสัมพันธ์ระสเปสกับเวลาสำหรับเด็กปฐมวัย
1. บ่งชี้ภาพ 2 และ 3 มิติ
2. บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
ทักษะการคำนวน => ความสามารถในการนับจำนวนของวัตถุ การบวกลบ คูณ หาร การนับตัวเลข บอกลักษณะต่างๆ เช่น ความก้าว ความยาว
1. การนับจำนวนของวัตถุ
2. การ บวก ลบ คูณ หาร
3. การนับจำนวนตัวเลข มากำหนด หรือ บอกลักษณะของวัตถุ

ครั้งที่5


ครั้งที่ 5
วันที่ 19 กรกฎาคม 2554

มีการนำเสนองาน สำหรับกลุ่มที่ยังไม่ได้นำเสนอในอาทิตย์ที่แล้ว และ อาจารย์ได้แนะนำเรื่องของการนำเสนองาน Map ของ ข้อความรู้




อาจารย์ได้จะจัดโครงการ ลด ละ เลิก สิ่งเสพติด โดยมีกิจกรรมดังนี้
1. เดินรณรงค์ โดยร้องเพลง ลด ละ เลิกสิ่งเสพ โดยมีเนื้อเพลงว่า
มา มา มา พวกเรามาลด เลิก เล่า เบียร์ (ซ้ำ)
บุหรี และ สิ่งเสพติด (ซ้ำ) เพื่อตัวเราและเพื่อในหลวง

2. เขียนไปรษณียบัตรแล้วส่งไปให้คนที่เรารู้จัก



ผลงานของฉัน

3. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของสิ่งเสพติด กลุ่มของข้าพเจ้าทำเรื่อง "สิ่งเสพติดที่มีโทษต่อปอด"




****กิจกรรมรณรงค์จัดขึ้นในวัน พุธที่ 20 กรกฎาคม 2554****

วันเสาร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่4

ครั้งที่ 4
วันที่ 14 กรกฎาคม 2554

วันนี้อาจารย์ได้ให้นำเสนองานกลุ่ม กลุ่มของข้าพเจ้าได้นำเสนอเรื่อง "จิตวิทยาการเรียนรู้" และ
"กิจกกรมขวกเป่าลูกโป่ง"

กิจกรรมขวดเป่าลูกโป่ง

อุปกรณ์
ลูกโป่ง 1 ลูก
ผงฟู 5 ช้อนโต๊ะ
ขวดน้ำ 1 ขวด
น้ำส้มสายชู 1 ขวด

ขั้นตอนการทำ
1. เป่าลูกโป่งให้ยืดตัวก่อนทดลองสัก 2 รอบ
2. ใส่เบกกิ้งโซดา ลงในขวดแก้ว
3. เติมน้ำส้มสายชูลงไป
4. ครอบลูกโป่งลงบนปากขวด

เพราะอะไรกันนะ
มื่อเบกกิ้งโซดา ทำปฏิกิริยากับน้ำส้มสายชูจะเกิดก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ขึ้นก๊าซเบากว่าอากาศจึงลอยสูงขึ้น เมื่อมีก๊าซมากก็จะดันลูกโป่งให้พองออกได้ เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) มีชื่อทางวิทย่ศาสตร์ว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) หรือที่คุณแม่เรียกว่า ผงฟู นั่นเอง

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 3
วันที่ 5 กรกฎาคม 2554

วิทยาศาสตร์ คือ ความสามารถในการคิดที่ต้องอาศัยกระบวนการทางสติปัญญา ความคิด และ ประสบการณ์เดิม ของบุคคลมาประกอบกัน เพื่อแก้ปัญหาที่ประสบในสถานการณ์ที่กำหนดมาให้
ซึ่งวัดได้จากระบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

สื่อ คือ สื่อคือตัวกลางเพื่อเป็นการสื่อสารระหว่างผู้สอน กับ นักเรียน หรือ เป็นตัวกลางในการเรียนการสอน

วันจันทร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่2

ครั้งที่2
วันที่ 28 มิถุนายน 2554

วันนี้อาจารย์เปิดเพลง "ไอน้ำ" แล้วให้ช่วยกันสรุปและอภิปราย เกี่ยวกับเพลง


การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนวิชา "ศิลปะ"
จะมีการจัดการเรียนการสอน 3 ขั้นตอน คือ
1. ขั้นนำ (อธิบายอุปกรณ์)
2. ขั้นสอน (การลงมือปฏิบัติ)
3. ขั้นสรุป (ตั้งชื่อผลงาน)


การจัดการเรียนการสอนวิชา "วิทยาศาสตร์"
จะมีการเรียนการสอน 3 ขั้นตอนคือ
1. ขั้นนำ (เปิดเพลง ร้องเพลง เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน)
2.ขั้นสอน (ลงมือปฏิบัติ สังเกต ทดลอง วิเคราะห์ จดบันทึก)
3.ขั้นสรุป (สรุปจากการบันทึก)


ความหมายของวิทยาศาสตร์
คือ สิ่งที่อยู่รอบตัวเรา เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ต้องมีการพิสูทธ์ได้ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ


ความสำคัญ
คือ สามารถใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้เป็นอาชีพ ใช้ในการดำรงชีวิต สร้างความสะดวกสบายแกมนุษย์

ครั้งที่1

ครั้งที่ 1

วันที่ 21 มิถุนายน 2554




วันนี้เป็นวันที่เรียนเป็นวันแรก อาจารย์สอนพูดเรื่อง การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การจัดการศึกษา => การวางแผน การออกแบบ เพื่อให้เกิดประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อเกิดการเรียนรู้

ประสบการณ์ => การรับรู้ ไปสู่การเรียนรู้ การเรียนรู้เป็นทั้งทางบวก (+) และ ทางลบ (-) การเรียนรุ้ทางบวกและทางลบเป็นเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ คือ ประสาทสัมผัสทั้ง 5

วิทยาศาสตร์ => สิ่งที่อยู่รอบตัวมีการเปลี่ยนแปลง เกิดจากการสังเกต การทดลอง การตั้งสมมุติฐาน การจดบันทึก และ การสรุป

เด็กปฐมวัย => เด้กอายุ 0-6 ปี พฤติกรรมชอบเลียนแบบ ชอบสังเกต ชอบความแปลกใหม่ ต้องการความรักความอบอุ่น และ
ต้องมีพัฒนาการตามวัยของเด็ก

อาจารย์ได้อธิบาย องค์ประกอบของ Blog ว่าควรจะมีอะไรบ้าง



1.ชื่อและคำบรรยายของ Blog
2.รูปและข้อมูลของผู้เรียน
3. มีปฏิทิน และ นาฬิกา
4. ต้องเชื่อมโยง Blog อาจารย์ผู้สอน งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ บทความ สื่อ
5. แนวทางการเรียนการเรียนสอน